THAI | ENG  
 
 
   
 
 
 
 
 
   
ชื่อ ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง
ตำแหน่งปัจจุบัน รองศาสตราจารย์
สถานที่ติดต่อ ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ. เมือง จ. เชียงใหม่ 50200
ประวัติการศึกษา 2507-2512 เภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
2515-2517 เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
2518-2522 ดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยบอนน์ ประเทศเยอรมันนี
ความชำนาญพิเศษ Pharmacological activities of medicinal plants, especially, analgesic, antipyretic and anti-inflammatory, bronchodilator, antihypertensive, anti-ulcer, gastro¬intestinal stimulant or relaxant as well as central nervous system activities.

Toxicology testing: acute, subacute, subchronic and chronic toxicity as well as dermal toxicity.
งานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย :
1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
4. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังของผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชไบโอเพส
5. ฤทธิ์ระงับปวดและต้านการอักเสบของน้ำมันเถาเอ็นอ่อนในสัตว์ทดลองและประสิทธิภาพในผู้ป่วย ข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล

ผู้ร่วมวิจัย
1.ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์
ผลงานตีพิมพ์ 51 เรื่อง ผลงาน 5 ปี สุดท้าย (2003-2007)
1. Taesotikul, T.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Verpoorte, R. and Scheffer, J.C.C. (2003).
Anti-inflammatory, antipyretic and antinociceptive activities of Tabernaemontana pandacaqui Poir. J. Ethnopharmacol. 84(1): 31-35
แหล่งทุน Ministry of Foreign Affairs and Leiden University, The Netherlands
2. Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Wongcome, T. and Reutrakul, V. (2003).
Anti-inflammatory and antipyretic properties of Clerodendrum petasites S. Moore. J. Ethnopharmacol. 85(1): 151-156
แหล่งทุน โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
3. Trongsakul, S.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D. and Tawat Taesotikul, T (2003). The analgesic, antipyretic and anti-inflammatory activity of Diospyros variegata Kruz. J. Ethnopharmacol. 85(2-3): 221-225
แหล่งทุน เมธีวิจัยอวุโส ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
4. Rujjanawate, C.; Kamjanapothi, D. and Panthong, A. (2003).
Pharmacological effect and toxicity of alkaloids from Gelsemium elegans Benth. J. Ethnopharmacol. 89 (1): 91-95.
แหล่งทุน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
5. Witawaskul, P.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D; Taesotikul, T. and Lertprasertkul, N. (2003).
Acute and subacute toxicities of the saponin mixture isolated from Schefflera lucantha Viguier. J. Ethnopharmacol. 89(1): 115-121
แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกายจนาภิเษก สำนักงานกองทุนการวิจัย
6. วิรวรรณ วิสิฐพงศ์พันธ์, วีรวรรณ เรืองยุทธการณ์, ไชยยง รุจจนเวช, อำไพ ปั้นทอง, อุษณีย์ วินิจเขตคำนวณ, นิรัชร์ เลิศประเสริฐสุข (2546) การทดสอบความเป็นพิษของน้ำสกัดใบรางจืด. วารสารสมุนไพร ปีที่ 10(2) หน้า 23-36
แหล่งทุน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
7. Intahphuak, S.; Panthong, A., Kanjanapothi, D., Taesotikul, T., and Reutrakul, V. (2004).
Anti-inflammatory and analgesic activities of Mallotus spodocarpus Airy Shaw. J. Ethnopharmacol. 90(1): 69-72
แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกายจนาภิเษก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
8. Kanjanapothi, D.; Panthong, A.; Lertprasertsuke, N.; Taesothikul, T.; Rujjanawate, C.; Kaewpinit, D.; Sudthayakorn, R.; Choochote, W.; Chaithong, U.; Jitpakdi, A. and Pitasuwat, B. (2004).
Toxicity of crude rhizome extract of Kaempferia galanga L. (Proh Hom). J. Ethnopharmacol. 90(2-3): 359-365
แหล่งทุน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
9. Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Pankummoon, A. and Reutrakul, V (2004).
Anti-inflammatory activity of methanolic extracts from Ventilago harmandiana Pierre. J. Ethnopharmacol. 91(2-3): 237-242
แหล่งทุน เมธีวิจัยอวุโส ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
10. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2005). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from the rhizome of Cyperus rotundus Linn. Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences 32 (1-2): 15-22
แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
11. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2005). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from Alternanthera philoxeroides Griseb. Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences 32 (1-2): 7-14
แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
12. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2006). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from Lonicera japonica Thumb. J. Ethnopharmacol. 107 (3): 370-373
แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
13. Khonsung, P.; Nansupawat, S; Jesadanont, S.; Chantharateptawan , V. and Panthong, A (2007).
Anti-inflammatory and analgesic activities of water extract of Malvastrum coromandelianum (L.) Garcke. Thai J. Pharmacol. 28(3), 2006
แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
14. Panthong, A.; Supraditaporn, W.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T. and Reutrakul, V.(2007).
Analgesic, anti-inflammatory and venotonic effects of Cissus quadrangularis Linn. J. Ethnopharmacol. 110 (2): 264-270
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
15. Panthong, A.; Noekaew, P.; Kanjanapothi, K.; Taesotikul, T.; Anantachoke, N. and Reutrakul, V.(2007).
Anti-inflammatory, analgesic and antipyretic activities of Garcinia hanburyi Hook f. J. Ethnopharmacol. 111(2): 335-340
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
16. Wongcome, T.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Lertprasertsuk, N. and Jesadanont, S. (2007).
Hypotensive effect and toxicology of the extract from Coscinium fenestratum (Gaertn) Colebr. . J. Ethnopharmacol. 111 (3): 468-475
แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
งานวิจัยที่กำลังทำ
1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
สถานภาพในการทำวิจัย 90%
2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
สถานภาพในการทำวิจัย 90%
3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน 2549-2551
สถานภาพในการทำวิจัย 40%
4. ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์
แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ปี 2550-2551
สถานภาพในการทำวิจัย 50%
5. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังของผลิตภัณฑ์กำจัดสัตรูพืชไบโอเพส
แหล่งทุน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานภาพในการทำวิจัย 50%
6. ฤทธิ์ระงับปวดและต้านการอักเสบของน้ำมันเถาเอ็นอ่อนในสัตว์ทดลอง และประสิทธิภาพใน ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล
แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และทุน
ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
เริ่ม พฤศจิกายน ปี 2550
สถานภาพในการทำวิจัย 2%
 
 
 
 
 
 
 
  • ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • Ãศ.ดร. ศิริวรรณ องค์ไชย (แย้มนิยม)
  • รศ.ดร.ภญ. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร
  • รศ.ดร.วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม
  •